นัดหมายแพทย์
รายชื่อแพทย์
สมาชิกและสิทธิ์พิเศษ
ติดต่อเรา
ศูนย์แม่และเด็ก
ศูนย์ฉุกเฉินโรคหัวใจ
ศูนย์อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
ศูนย์โรคหลอดเลือดสมองและระบบประสาท
ศูนย์โรคกระดูกและข้อ
ศูนย์ส่องกล้องทางเดินอาหาร
แผนกจักษุ
บริการทั้งหมด
เมื่อไรควร “ผ่าตัด” ลดขนาดกระเพาะอาหาร ? ผู้ที่มีภาวะอ้วน ต้องเผชิญกับการลดน้ำหนัก บางคนมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนไม่สามารถควบคุมน้ำหนักตัวขึ้นได้จนเป็นปัญหาต่อสุขภาพ การผ่าตัดกระเพาะอาหารเพื่อลดน้ำหนักเป็นอีกตัวช่วยหนึ่งสำหรับผู้ที่มีภาวะอ้วนที่เป็นโรค ซึ่งคุณสมบัติ ข้อบ่งชี้ในการรักษา มีดังนี้ ผู้รับบริการต้องมี อายุ 18-65 ปี มีข้อบ่งชี้อย่างน้อยหนึ่งข้อ ดังต่อไปนี้ - มีดัชนีมวลกาย(BMI) 37.5 kg/m² ขึ้นไปที่ไม่มีโรค - มีดัชนีมวลกาย(BMI) 32.5
การดูแลด้านอาหาร ต้องคำนึงถึงความต้องการที่แท้จริงของร่างกายเพื่อสุขภาพที่ดีในแต่ละวัย และตามวัฒนธรรม การกินอาหารของคนไทยให้ยึดแนวปฏิบัติการกินที่ถูกต้อง ตามข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 9 ข้อ ตาราง ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 9 ข้อ ข้อข้อปฏิบัติการกินอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทยข้อปฏิบัติที่ควรเน้นพิเศษเพื่อควบคุมน้ำหนัก 1กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้ หลากหลายและหมั่นดูแลน้ำหนักตัวเน้นกินหลากหลายแต่ได้สมดุล และหมั่นดูแลรอบเอว “80-90” ไม่ให้เกิน2กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหาร ประเภทแป้งเป็นบางมื้อเน้นกินธัญพืชเพื่อให้ได้กากใย เช่น ข้าวกล้อง ข้าวโพด ลูกเดือย
เป็นอันตรายต่อสุขภาพเป็นอย่างมากผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสป่วยเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ หรือโรคถุงลมโป่งพอง ผู้ที่สูบบุหรี่แต่ละรายจะมีโอกาสเสี่ยงในโรคแตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่สูบ, ปริมาณที่สูบ, ลักษณะทางพันธุกรรม, การมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆร่วมด้วยเหล่านี้เป็นต้น อาการของคนที่กำลังเลิกบุหรี่ - ด้านอารมณ์ หงุดหงิด โมโหง่าย ฉุนเฉียว ไม่ค่อยมีสมาธิ - ด้านร่างกาย เปรี้ยวปาก อยากสูบบุหรี่ ง่วง ไอ มีเสมหะ เวียนศีรษะ ท้องผูก
เป้าหมาย : น้ำหนักลดลง 40% ภายใน 1 ปี ระยะที่ 1 (1-3 วัน หลังการผ่าตัด) - ต้องฝึกให้กระเพาะของท่านคุ้นเคยกับกระเพาะใหม่ โดยจิบน้ำให้ได้อย่างน้อย วันละ 1 ลิตร และรับประทานอาหารเหลวใสอื่นๆ ที่ไม่มีน้ำตาล ไม่มีกากใย ไม่ใช่น้ำอัดลม ไม่มีรสเผ็ดร้อน เช่น น้ำใบเตย น้ำซุปใส -
สำหรับผู้ที่มีข้อบ่งชี้การผ่าตัดกระเพาะอาหารเพื่อลดน้ำหนักสำหรับรักษาโรคอ้วนจะต้องได้รับการพิสูจน์ให้เห็นความตั้งใจดังต่อไปนี้ แนวทางในการปฏิบัติตัวก่อนการผ่าตัดกระเพาะอาหารเพื่อลดน้ำหนัก 1. ภาวะโภชนาการที่เหมาะสม 2. การออกกำลังกาย 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ภาวะโภชนาการที่เหมาะสม อาหาร อาหารสมดุล อาหารแลกเปลี่ยน การควบคุมแคลอรี การใช้โภชนบำบัดเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาโรคอ้วน ได้แก่ การปรับเปลี่ยนด้านโภชนาการ โดยพิจารณาที่การรับประทานอาหารให้ได้แคลอรีที่สมดุล การควบคุมแคลอรี โดยการลดแคลอรีที่รับประทานเข้าไป และเน้นการเพิ่มการใช้แคลอรี รวมถึงการเลือกรับประทานอาหารแลกเปลี่ยนในแต่ละมื้อ รายการอาหารแลกเปลี่ยน คืออะไร เมื่อพูดถึงคำว่า "แลกเปลี่ยน" มักจะนึกถึงคำว่า "ทดแทน"
การหายใจเข้า-ออกยาวๆลึกๆ จะช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด และให้ผู้ป่วยทำให้ได้ก่อนผ่าตัด ทั้งการหายใจลึกๆ การหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยขยายถุงลมเล็กๆในปอดและป้องกันการเกิดปอดอักเสบ และถุงลมแฟบผ่าตัดและช่วยการขับสารที่ใช้ในการดมยาสลบออกจากร่างกายได้เร็ว การสาธิตวิธีหายใจลึกๆ ที่ถูกต้อง ได้แก่ การหายใจ เข้าทางจมูกช้าๆ จนหน้าท้องตึงและหายใจออกช้าๆทางปาก สาธิตให้ผู้ป่วยดูและให้ปฎิบัติตามเพื่อให้แน่ใจว่าปฎิบัติถูกต้องและแนะนำให้ผู้ป่วยปฎิบัติบ่อยๆเท่าที่จะทำได้อย่างน้อย 5-10 ครั้งทุกชั่วโมง ในระยะหลังผ่าตัดที่ยังไม่ลุกจากเตียง 1. ให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรงที่ข้างเตียง หรือช่วยจับผู้ป่วยให้อยู่ในท่า Semi-Fowlrr’s Position 2. ใช้มือทั้งสองข้างจับที่ท้องจะได้รู้สึกเวลาหน้าอกขยายจะบ่งชี้ว่าปอดขยายตัว 3. ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าทางจมูกจนรู้สึกว่าหน้าท้องขยาย 4.
ศูนย์บริการลูกค้าโรงพยบาล มีความยินดีพร้อมให้บริการท่าน 24 ชั่วโมง
ติดต่อผ่าน Social