ปวดศีรษะ (HEADACHE)

ปวดศีรษะ Headache

อาการปวดศีรษะ เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยที่ภาวะปวดศีรษะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ตามระยะเวลาที่เป็นคือ เฉียบพลัน และเรื้อรังโดยทั้งสองกลุ่มมีสาเหตุได้จากมีและไม่มีคาวะผิดปติในสมอง (เนื้องอสมอง, โรคหลอดเลือดทางสมอง,ภาวะแรงดันน้ำในโพรงสมองสูงกว่าหรือต่ำกว่าปกติและอื่นๆ)
Headache Type

  • Sinus                   
  • Tension
  • Migraine
  • Cluster

การจำแนกชนิดของอาการปวดศีรษะที่พบบ่อย

  1. ไม่มีสาเหตุชัดเจนทางสมองหรืออวัยวะข้างเคียง ได้แก่
  2. ไมเกรน, กล้ามเนื้อตึงตัว, ปวดแบบคลัสเตอร์ (cluster), ปวดตามหลังกาวะบางอย่าง เช่น ไอ,
    การร่วมเพศ,การออกกำลังกายอย่างหนัก
  3. มีสาเหตุซัดเจน ได้แก่
  4. สัมพันธ์กับอุบัติเหตุทางศีรษะ, ภาวะหลอดเลือดผิดปกติ (ตีบ, แตก, อักเสบ, โป้งพอง), การติดเชื้อในสมองหรือบริเวณข้างเคียง (ไซนัส, ตา, ชู, จมูก), ความผิดปกติของน้ำในโพรงสมอง, ปวดตามวิถีประสาท

อาการปวดศีรษะที่อาจเป็นอันตรายและอาจพิจารณาเอกซเรย์ต่อ

  • ปวดครั้งแรกอย่างรุนแรง โดยเฉพาะอายุมากกว่า 50 ปี
    • – ความที่, ความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในแต่ละวัน
    • ปวดด้านเดียวตลอด และเรื้อรัง
    • อาการปวดไม่ตอบสนองต่อการรักษา
    • ครั้งแรกในผู้ป่วยโรคมะเร็งหรือเอดส์
    • ปวดศีรษะร่วมกับชัก
    • มีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ไข้, คอเข็ง, ผิดปกติทางระบบประสาท, บุคลิกภาพเปลี่ยน เป็นต้น

การวินิจฉัย

            สำคัญที่สุดคือประวัติเพื่อช่วยในการจำแนกชนิดได้มากกว่า 80%. นอกจากนั้นตรวจตามสาเหตุที่นึกถึง เช่นตรวจเลือด, เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือคลื่นแม่เหล็ก (CT scan หรือ MRI), เจาะตรวจน้ำไขสันหลัง, ตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง,จัดสีตรวจหลอดเลือดสมอง

การรักษา

รักษาตามสาเหตุที่พบ หากเป็นแบบไม่มีสาเหตุชัดเจน (ในกลุ่มที่1)รักษาได้โดย

1. ไม่ใช้ยา

– โดยลดการใช้สิ่งกระตุ้น เช่น เครียด, อดนอน, อาหารบงชนิด, ไม่สบายจากสาเหตุอื่นๆ

– ฝึกผ่อนคลาย, พฤติกรรมบำบัด หรือจิตบำบัด

2. ใช้ยา ปรับตามระดับความรุนแรงและชนิดที่เป็น

อาการปวดศีรษะพบได้บ่อยที่สำคัญคือการสังเกตอาการและอาการแสดงหากเป็นรุนแรงหรือผิดปกติดังข้างต้นควรพบแพทย์เฉพาะทาง